ทานเกวียน ชูสง่า

นักเขียน, ทำสำนักพิมพ์เล็กๆ ของตัวเองชื่อ daydream สนับสนุนให้ยกเลิกมาตรา 112

เรื่องสั้นความยาวไม่กี่หน้าของฮารูกิ มูราคามิ กลายเป็นหนังความยาวสองชั่วโมงครึ่งของ ‘อี ชางดง’ ได้อย่างไร | PHRASE TO PHRASE

ภาพ: ms.midsummer

“มีโรงนาอยู่มากมายในโลก และผมเกิดความรู้สึกที่ว่า โรงนาพวกนั้นกำลังรอคอยให้ถูกเผา โรงนาที่ตั้งอยู่ริมทะเล โรงนาที่ตั้งอยู่กลางทุ่ง…

cont.

‘นาโอกิ อุราซาว่า’ นักเขียนผู้หลงใหลในโลกของมังงะ และความซับซ้อนของจิตใจมนุษย์ | A-Z

ภาพ: NJORVKS

“สำหรับมังงะแล้ว สิ่งที่คุณต้องการจริงๆ มีแค่กระดาษกับปากกาเท่านั้น ไม่มีเครื่องมือชิ้นไหนที่เอื้อให้คุณถ่ายทอดจินตนาการออกมาเป็นภาพได้รวดเร็วเท่ากับมังงะอีกแล้ว..."

cont.

วิธีการเขียนไดอะล็อกให้ตัวละครพูดรัวๆ ของ ‘แอรอน ซอร์กิน’ ใน ‘THE SOCIAL NETWORK’ | PHRASE TO PHRASE

ภาพ: ms.midsummer

“รู้ไหมว่าที่จีนมีจำนวนคนไอคิวระดับอัจฉริยะมากกว่าคนในอเมริกาเสียอีก” ยังไม่ทันที่โลโก้ของโคลัมเบีย พิกเจอร์สจะหายไปจากหน้าจอ ไดอะล็อกแรกของ The Social Network (2010) ก็พุ่งเข้าจู่โจมคนดูอย่างรวดเร็ว

cont.

ว่าด้วยกระบวนการเขียนสคริปต์ของหนัง ‘THE FABELMANS’ | Phrase to Phrase

ภาพ: ms.midsummer

ในค่ำคืนแรกของการถ่ายทำ Munich (2005) ผู้กำกับ สตีเวน สปีลเบิร์ก (Steven Spielberg) กับ โทนี คุชเนอร์ (Tony Kushner) นักเขียนบทละครเวทีที่เพิ่งข้ามสายงานมาเขียนบทหนังเป็นเรื่องแรก

cont.

‘THE BANSHEES OF INISHERIN’ ว่าด้วยการเขียนสคริปต์ที่ไม่ได้ร่างเค้าโครงก่อนจะเขียนของ ‘มาร์ติน แมคโดนาห์’ | Phrase to Phrase

ภาพ: ms.midsummer

รายการ THR Roundtable ของ The Hollywood Reporter คือรายการที่เชิญคนทำงานภาพยนตร์ในสายงานต่างๆ ทั้งนักแสดง ผู้กำกับ และคนเขียนบทที่มีผลงานโดดเด่นน่าจับตาในแต่ละปีมานั่งพูดคุยกัน

cont.

การเขียนไดอะล็อกที่ดูเป็นธรรมชาติราวกับว่าไม่ได้เขียนของหนังไตรภาค Before | PHRASE TO PHRASE

ภาพ: NJORVKS

ความเข้าใจผิดอย่างหนึ่งที่ผู้คนมีต่อหนังไตรภาค Before Sunrise (1995), Before Sunset (2004) และ Before Midnight (2013)

cont.

ว่าด้วยสิ่งที่ตัวละครพูด (และไม่ได้พูด) ในหนัง ‘Still Walking’ และสไตล์การทำงานของ ‘ฮิโรคาสุ โคเรเอดะ’ | PHRASE TO PHRASE

ภาพ: ms.midsummer

“เขาไม่อยากให้เพื่อนบ้านเห็นเขาเดินถือถุงช้อปปิ้ง ถึงจะแก่ปูนนี้แล้ว เขาก็ยังชอบให้คนเรียกว่าเซ็นเซอยู่”

cont.

ทำไมคนเหล็กต้อง 'I'll be back' ที่มาที่ไปของวลีอมตะใน 'The Terminator' | PHRASE TO PHRASE

ภาพ: NJORVKS

ด้วยเพราะได้รับบทบาทเป็นหุ่นยนต์สังหารในหนัง The Terminator ภาคแรก (1984) ทำให้ ‘อาร์โนลด์ ชวาร์เซเนกเกอร์’ (Arnold Schwarzenegger) ได้พูดไดอะล็อกเพียงแค่ 17 ประโยคเท่านั้น

cont.